ธรรม 10 ประการ

4. อาชวะ หมายถึง ความซื่อตรง ทรงมีพระราชอัฌชาสัย อันประกอบด้วยความซื่อตรง ดำรงในสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อพระราชสัมพันธมิตรและพระราชวงศ์ ข้าทูลละอองธุลีพระบาททั้งปวง ไม่ทรงคิดลวง ประทุษร้ายโดยอุบายผิดยุติธรรม. 5. มัททวะ หมายถึง ความอ่อนโยน ทรงมีพระราชอัฌชาสัยอ่อนโยน ไม่ดื้อดึงถือพระองค์แม้มีผู้ตักเตือนในบางอย่าง ด้วยความมีเหตุผลก็จะทรงพิจารณาโดยถี่ถ้วน ถ้าถูกต้องดีชอบก็ทรงอนุโมทนา และปฏิบัติตาม ทรงสัมมาคารวะอ่อนน้อมแก่ท่านผู้เจริญโดยวัยและโดยคุณ ไม่ทรงดูหมิ่น. 6. ตบะ หมายถึง ความเพียร ทรงสมาทานกุศลวัตร ด้วยการเอาพระราชหฤทัยใส่ ในการปกครองพระราชอาณาเขต และประชาชนให้มีความสุขปราศจากภยันตราย ตลอดถึงการที่ทรงมีพระอุตสาหะอันแรงกล้าในกุศลสมาทาน ระวังบาปที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น และเพื่อจะกำจัดบาปกุศลที่เกิดขึ้นแล้วให้เสื่อมสูญ ไม่ตั้งอยู่ในพระสันดาน. 7. อักโกธะ หมายถึง ความไม่โกรธ ทรงมีพระกริยาที่ไม่โกรธโดยวิสัย มิใช่เหตุที่ควรโกรธ แม้มีเหตุที่ให้ทรงพระพิโรธ แต่ทรงข่มเสียให้อันตรธานสงบระงับไป ด้วยทรงมีพระเมตตาอยู่เสมอ ไม่ทรงปรารถนาจะก่อภัย ก่อเวรแก่ผู้ใด. 8. อวิหิงสา หมายถึง ความไม่เบียดเบียน ด้วยทรงมีพระราชอัฌชาสัยกอปรด้วยพระราชกรุณา ไม่ทรงปรารถนาจะก่อทุกข์แก่ผู้ใดแม้กระทั้งสัตว์ ไม่ทรงเบียดเบียนพระราชวงศ์ ข้าทูลละอองธุลีพระบาท และอาณาประชาราษฎร์ ให้ลำบากด้วยเหตุอันไม่ควรกระทำ.

จริยของพระโพธิสัตว์ | Shantideva

ปาสาทิโก เป็นผู้ประกอบด้วยกิริยาอันน่าเลื่อมใส ไม่ว่าอยู่ในอิริยาบถใดๆ ก็สำรวมด้วยดี เป็นภาพเมื่อครั้งดำรงสมณศักดิ์ที่พระสาสนโสภณ ทรงแสดงกิริยาความเคารพอ่อนน้อมต่อพระเทพมงคลรังษี (หลวงพ่อดี วัดเทวสังฆราม) พระอุปัชฌาย์ เถรธรรมที่ 9 ฌานลาภี เป็นพระอิริยาบถในการบำเพ็ญภาวนาซึ่งเป็นกิจวัตรของสมเด็จพระสังฆราช พระองค์นี้ เถรธรรมที่ 9 ฌานลาภี เป็นพระอิริยาบถในการบำเพ็ญภาวนาซึ่งเป็นกิจวัตรของสมเด็จพระสังฆราช พระองค์นี้ 9. ฌานลาภี เป็นผู้สามารถเข้าฌานอันเป็นธรรมที่ทำให้อยู่เป็นสุขในปัจจุบันได้ตามปรารถนาโดยไม่ยาก ภาพที่สอดคล้องกับข้อนี้ เถรธรรมที่ 10 ว่าด้วยวิมุตโต คือสิ้นอาสวะ หรือนิพพาน วันที่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สิ้นพระชนม์ จึงมีคณะศิษย์ทั้งหลายกราบพระศพด้วยความอาลัย เถรธรรมที่ 10 ว่าด้วยวิมุตโต คือสิ้นอาสวะ หรือนิพพาน วันที่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สิ้นพระชนม์ จึงมีคณะศิษย์ทั้งหลายกราบพระศพด้วยความอาลัย 10. วิมุตโต บรรลุเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ สิ้นอาสวะ ดังพระสัมโมทนียกถา ณ วัดบูรพาราม จ. สุรินทร์ 3 มิ. 2516 ว่า พระภิกษุสามเณร เมื่อเข้ามาบวชเรียนก็ควรอธิษฐานใจมุ่งต่อพระนิพพานและปฏิบัติให้บ่ายหน้าไปสู่นิพพาน แม้ว่าจะอยู่ไกลสุด แต่ปฏิบัติบ่ายหน้าไปสู่พระนิพพานแล้ว แม้เดินเข้าสู่พระนิพพานทีละก้าวๆ ก็ย่อมถึงพระนิพพานได้ในที่สุด แต่ถ้าไม่ปฏิบัติบ่ายหน้าไปสู่พระนิพพาน แต่ปฏิบัติหันหลังให้พระนิพพาน ก็ยิ่งจะเดินห่างพระนิพพานออกไป... เถรธรรม ที่ 10 จึงเป็นภาพที่คณะศิษย์ เช่น พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ (ท่านอนิล) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร กราบพระศพด้วยความอาลัยเป็นครั้งสุดท้าย เมื่อ 24 ต.

ขุ. ชา.

หลัก ธรรม 10 ประการ ศาสนา พราหมณ์ ฮินดู best t shirt design website

หลัก - GotoKnow

  • วิธีการดูแล Tracheostomy (พร้อมรูปภาพ) - ทำอย่างไร - 2022
  • จริยธรรม 10 ประการของพระโพธิสัตว์ | Shantideva
  • Uefa champions league ตาราง คะแนน 2018
  • การ เล่น เทรด หุ้น
  • ทศพิธราชธรรมของ “พระธรรมราชา” (1) สยามรัฐ
  • เกมบวกเลขหรรษา - Studios
  • Vios 2012 มือสอง ราคา
  • หวย 16 03 63 18
  • สมัครศรีสวัสดิ์เงินติดล้อใกล้ฉันพร้อมวิธีเช็คสินเชื่อเงินติดล้อว่ามีดอกเบี้ยเท่าไหร่?และศรีสวัสดิ์เงินติดล้อปิดกี่โมง 2565/2022 - วิธีกู้เงินออนไลน์ได้จริงและเงินด่วนโอนเข้าบัญชี 24 ชั่วโมงใน 2022/2565

ศ. 239-พ. 311) ซึ่งปกครองอินเดียมา 41 ปี ในช่วงต้นของรัชกาลทรงเป็นนักรบผู้ยิ่งใหญ่ชนะการต่อสู้หลายครั้งและยังคงขยายอาณาจักรอินเดียในช่วงแปดปีแรกของการครองราชย์ของพระองค์ หลังจากการสู้รบอย่างนองเลือด ครั้งหนึ่ง กษัตริย์ ได้ทรงเล็งเห็นชัยชนะของกองทัพของพระองค์และได้ทรงเห็นการสังหารรอบ ๆ พระองค์อย่างมีชื่อเสียงแล้วทรงตรัสออกมาว่า "ข้าฯได้ทำอะไรไปแล้ว? "

พระโพธิสัตว์ไม่ปรารถนาเลยว่าจะไม่มีมารขัดขวางการปฏิบัติภารกิจ ( จะต้องมีมารมาขัดขวางการปฏิบัติโพธิจิตเป็นธรรมดา) 5. พระโพธิสัตว์คิดว่าจะทำงานให้นานที่สุด โดยไม่ปรารถนาจะให้สำเร็จผลเร็ว ( ปล่อยวางเรื่องกาลเวลา ทำงานเพื่องาน) 6. พระโพธิสัตว์คบเพื่อนโดยไม่ปรารถนาว่าจะได้ผลประโยชน์จากเพื่อน ( รักผู้อื่นด้วยความบริสุทธิ์ใจ) 7. พระโพธิสัตว์ไม่ปรารถนาเลยว่าจะให้คนอื่นตามใจตนเองเสมอไปทุกอย่าง (ไม่มีความเห็นแก่ตัว) 8. พระโพธิสัตว์ทำความดีกับคนอื่น ไม่ปรารถนาสิ่งตอบแทน ( ต้องการให้คนอื่นพ้นทุกข์) 9. พระโพธิสัตว์เห็นลาภแล้ว ไม่ปรารถนาจะมีหุ้นส่วนด้วย ( ไม่ปรารถนาในลาภและสรรเสริญ) 10. พระโพธิสัตว์เมื่อถูกใส่ร้ายป้ายสี ติเตียน นินทาแล้ว ไม่ปรารถนาจะได้โต้ตอบหรือฟ้องร้อง ( การใส่ร้ายป้ายสี ติเตียน นินทา เป็นธรรมดาของโลก) จริยธรรมทั้ง 10 ประการ นี้ เป็นการปฏิบัติธรรมชั้นสูงของพระโพธิสัตว์ทุกพระองค์ เรียกว่า "มหาอุปสรรค" ซึ่งถ้าชาวพุทธนำมาปฏิบัติทุกวัน จะช่วยขัดเกลาจิตใจให้ดีงามและง่ายต่อการบรรลุมรรคผลนิพพาน

ทศพิธราชธรรมของ "พระธรรมราชา" (1) อัศศิริ ธรรมโชติ/เรื่อง วารสารวัฒนธรรม หนึ่งในทศพิธราชธรรมที่ประจักษ์ชัดที่สุดของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชก็คือข้อที่เรียกกันว่า มีทวะ หมายถึงความอ่อนโยนและอ่อนน้อมถ่อมตน ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล ผู้ถวายงานใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาทได้กล่าวถึงเรื่องความอ่อนโยนกับความอ่อนน้อมถ่อมตนว่า เป็นเรื่องที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 จะทรงกำชับและทรงสั่งสอนอยู่เสมอถึงแม้ว่าพระองค์ทรงเป็นประมุขของประเทศที่อยู่สูงสุด แต่เวลาเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎรนั้นจะเห็นความอ่อนน้อมถ่อมพระองค์ตลอดเวลา เช่น ทรงรับสั่งกับประชาชนและเจ้าหน้าที่ด้วยความเตตา ทรงคุกเข่าหรือทรงนั่งประทับพับเพียบอยู่กับพื้น และทรงสนทนากับประชาชนโดยไม่ถือพระองค์แม้แต่น้อย ดร.

Thursday, 27 October 2022