การ พัฒนา อย่าง ยั่งยืน หมาย ถึง

อดิสร เตือนตรานนท์ ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศและการประยุกต์เชิงพาณิชย์ สวทช., เมธีวิจัยอาวุโส สกว.

ความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน. ตัวอย่างและวัตถุประสงค์ | พลังงานทดแทนสีเขียว

พ. ได้นำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาเรื่องนี้เป็นวาระแห่งชาติ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ประชุม เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2542 ลงมติเห็นชอบวาระแห่งชาติ สำหรับการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี ตามที่สำนักงาน ก. เสนอ และออกเป็นระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ. 2542 โดยกำหนดให้หน่วยงานของรัฐทุกแห่ง จัดทำแผน และโครงการในการปรับปรุงงานที่รับผิดชอบให้สอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาล ซึ่ง หลักธรรมาภิบาล 6 ประการ ตามแนวทางของสำนักงาน ก. ได้แก่ - หลักนิติธรรม - หลักคุณธรรม - หลักความโปร่งใส - หลักการมีส่วนร่วม - หลักความรับผิดชอบ - และหลักความคุ้มค่า และให้สำนักงาน ก. รวบรวมและประเมินผลเพื่อรายงานต่อคณะรัฐมนตรีต่อไป

  1. การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) | chutimonchu
  2. การ download youtube 2019
  3. เลือกตั้ง 62 สมุทรสงคราม
  4. Suzuki k6 ราคา motorcycle
  5. โบ รก lcg
  6. ตาราง เกม nintendo switch ราคาถูก
  7. เปิดกรุกระเป๋า! ครึ่งล้าน! U╹ x ╹U ในห้องนอน! ที่บ้านอาจุมม่า - YouTube
  8. แนวคิดและกลวิธีการจัดการศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของต่างประเทศ – ปรัชญาการศึกษา

แนวคิดและกลวิธีการจัดการศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของต่างประเทศ – ปรัชญาการศึกษา

ที่มาของ “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” - EXIM EXAC

ประชาชนจะต้องยอมรับในความชอบธรรมของรัฐบาล (Legitimacy) และ รัฐบาลจะต้องมีความรับผิดชอบต่อประชาชนในกิจการที่ได้กระทำลงไป (Accountability) 2. ประชาชนจะต้องมีอิสระเสรีภาพในการรวมกลุ่ม และในการมีส่วนร่วม (Freedom of Association and Participation) 3. จะต้องมีกรอบแห่งกฎหมายที่ชัดเจน และเป็นระบบที่ก่อให้เกิดสภาวะที่มั่นคง เป็นหลักประกันต่อชีวิตและการทำงานของพลเมือง รวมทั้งเป็นสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อผู้ประกอบการ และเกษตรกร นอกจากนี้ กฎหมายจะต้องปฏิบัติต่อประชาชนอย่างเสมอหน้ากัน ทั้งนี้โดยกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ จะต้องเปิดเผยเป็นที่รู้กันล่วงหน้า ต้องมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด มีวิธีการที่ประกันการบังคับใช้กฎหมาย การตัดสิน ข้อขัดแย้งต้องเป็นการตัดสินใจโดยฝ่ายตุลาการที่เป็นอิสระและเชื่อถือได้ รวมถึงจะต้องมีกระบวนการในการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ได้ เมื่อหมดประโยชน์ ใช้สอย 4. ระบบราชการจะต้องรับผิดชอบต่อการดำเนินกิจการต่างๆ (Bureaucratic Accountability) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดการงบประมาณของรัฐซึ่งจะต้องมีการควบคุม ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งของรัฐและบุคลากร เพื่อป้องกันมิให้ใช้ทรัพยากรโดยมิชอบ ทั้งนี้จะต้องมีความโปร่งใส (Transparency) ในการปฏิบัติราชการทุกระดับ 5.

การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) | chutimonchu

ประชาชนจะต้องยอมรับในความชอบธรรมของรัฐบาล (Legitimacy) และ รัฐบาลจะต้องมีความรับผิดชอบต่อประชาชนในกิจการที่ได้กระทำลงไป (Accountability) 2. ประชาชนจะต้องมีอิสระเสรีภาพในการรวมกลุ่ม และในการมีส่วนร่วม (Freedom of Association and Participation) 3. จะต้องมีกรอบแห่งกฎหมายที่ชัดเจน และเป็นระบบที่ก่อให้เกิดสภาวะที่มั่นคง เป็นหลักประกันต่อชีวิตและการทำงานของพลเมือง รวมทั้งเป็นสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อผู้ประกอบการ และเกษตรกร นอกจากนี้ กฎหมายจะต้องปฏิบัติต่อประชาชนอย่างเสมอหน้ากัน ทั้งนี้โดยกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ จะต้องเปิดเผยเป็นที่รู้กันล่วงหน้า ต้องมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด มีวิธีการที่ประกันการบังคับใช้กฎหมาย การตัดสิน ข้อขัดแย้งต้องเป็นการตัดสินใจโดยฝ่ายตุลาการที่เป็นอิสระและเชื่อถือได้ รวมถึงจะต้องมีกระบวนการในการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ได้ เมื่อหมดประโยชน์ ใช้สอย 4. ระบบราชการจะต้องรับผิดชอบต่อการดำเนินกิจการต่างๆ (Bureaucratic Accountability) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดการงบประมาณของรัฐซึ่งจะต้องมีการควบคุม ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งของรัฐและบุคลากร เพื่อป้องกันมิให้ใช้ทรัพยากรโดยมิชอบ ทั้งนี้จะต้องมีความโปร่งใส (Transparency) ในการปฏิบัติราชการทุกระดับ 5.

การพัฒนาอย่างยั่งยืน - วิกิพีเดีย

ขจัดความยากจน 2. ขจัดความหิวโหย 3. การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี 4. การศึกษาที่เท่าเทียม 5. ความเท่าเทียมทางเพศ 6. การจัดการน้ำและสุขาภิบาล 7. พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้ 8. การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ 9. อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน 10. ลดความเหลื่อมล้ำ 11. เพิ่มความยั่งยืนให้เมืองและสังคม 12. แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน 13. การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 14. การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล 15. การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก 16. สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก 17.

1. ความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนา หมายถึง การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ การแก้ไขปัญหา และการรักษาสิ่งที่ดีอยู่แล้ว เพื่อให้ชีวิตและสังคมดีขึ้นทุกด้าน ทำให้มีความสุขทั้งทางร่างกายและจิตใจ ความยั่งยืน หมายถึง การดำรงอยู่ทั้งระบบนิเวศ สังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจไปพร้อมๆกัน และต่อเนื่องไปสู่อนาคต 2. การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Education for Sustainable Development: ESD) สาระสำคัญสำหรับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มีดังนี้ 1. การมีวิสัยทัศน์ (envisioning) หลักมีอยู่ว่าหากเราทราบจุดหมายที่เราจะไปให้ถึง เราจะสามารถวางแผนดำเนินการเพื่อไปให้ถึงเป้าหมายได้ดีขึ้น 2. การคิดเชิงวิจารณญาณและการคิดใคร่ครวญ (critical thinking and reflection) เป็นการเรียนรู้ที่จะมีการตั้งคำถาม 3. การคิดอย่างเป็นระบบ (systematic thinking) เป็นการยอมรับในความซับซ้อน และมองหาความเชื่อมโยงและการ่วมมือ 4. การสร้างคู่พันธมิตรหรือหุ้นส่วน (building partnerships) ส่งเสริมการพูดคุยทำความเข้าใจและการเจรจาต่อรองการเรียนรู้ที่จะทำงานร่วมกัน 5. การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (participation in decisionmaking) ควรได้จัดให้มีการเรียนรู้และประยุกต์ใช้ตามบริบทของวัฒนธรรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือแต่ล่ะกลุ่มที่แตกต่างกัน 3.

การพัฒนาอย่างยั่งยืน - theskykittipongniljak

การพัฒนาอย่างยั่งยืน หมายถึง
พ. ได้นำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาเรื่องนี้เป็นวาระแห่งชาติ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ประชุม เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2542 ลงมติเห็นชอบวาระแห่งชาติ สำหรับการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี ตามที่สำนักงาน ก. เสนอ และออกเป็นระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ. 2542 โดยกำหนดให้หน่วยงานของรัฐทุกแห่ง จัดทำแผน และโครงการในการปรับปรุงงานที่รับผิดชอบให้สอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาล ซึ่ง หลักธรรมาภิบาล 6 ประการ ตามแนวทางของสำนักงาน ก. ได้แก่ – หลักนิติธรรม – หลักคุณธรรม – หลักความโปร่งใส – หลักการมีส่วนร่วม – หลักความรับผิดชอบ – และหลักความคุ้มค่า และให้สำนักงาน ก.

ศ. 2558 และจำนวนเด็กทั่วโลกที่ไม่ได้รับการศึกษาลดลงเกือบครึ่งหนึ่ง

อยู่ภายใต้แนวคิดของความเท่าเทียมกัน (equity) และความยุติธรรม (fairness) เพราะมองว่าในโลกที่เชื่อมโยงถึงกัน ผลกระทบจากการกระทำโดยไม่คำนึงถึงผู้อื่นของเรา อาจส่งผลร้ายแรงต่อผู้อื่นและตัวเราเองในอนาคตก็เป็นได้ ดังนั้นจึงควรคำนึงถึงความเท่าเทียมและยุติธรรมต่อผู้อื่นด้วย เช่น ประเทศแต่ละประเทศควรได้รับโอกาสในการพัฒนาตัวเองบนพื้นฐานของคุณค่าทางวัฒนธรรมและสังคมของตัวเอง โดยไม่ถูกเบียดเบียนจากประเทศอื่น ๆ หรือการปกป้องสิทธิให้คนที่ไม่มีสิทธิออกเสียง เป็นต้น 2. มีมุมมองในระยะยาว ภายใต้หลักความรอบคอบ (precautionary principle) เช่น ชนเผ่าอินเดียนแดงในอเมริกามีการวางแผนระยะยาวโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อคนอีกเจ็ดรุ่นในอนาคต แต่อย่างน้อยหากเพียงแค่คำนึงถึงคนอีกรุ่นหนึ่งคือรุ่นต่อไปเท่านั้น ก็จะทำให้คนทุกรุ่นได้รับการดูแลอย่างแน่นอน นอกจากนั้นกิจกรรมใดที่อาจเพิ่มอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพของมนุษย์ในอนาคต คนรุ่นปัจจุบันก็ต้องดำเนินมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหานั้นด้วย 3. การคิดเชิงระบบ (systems thinking) ซึ่งต้องอาศัยความเข้าใจในความเชื่อมโยงและสมดุลระหว่างสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม เนื่องจากเราเป็นเพียงส่วนเสี้ยวเดียวของระบบธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่ การคิดเป็นระบบทำให้เข้าใจได้ว่า โลกมีระบบย่อย ๆ มากมายซึ่งมีปฏิสัมพันธ์กัน ผ่าน "ห่วงโซ่ตอบกลับ (feedback loop)" ที่บอกว่าเหตุการณ์เล็ก ๆ บางอย่างอาจจะก่อผลกระทบขนาดใหญ่ที่ไม่สามารถพยากรณ์ได้ นอกจากนั้นยังให้คำนึงด้วยว่าทรัพยากรธรรมชาติมีอยู่อย่างจำกัด เราจึงไม่ควรนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในอัตราที่มากกว่าความสามารถในการผลิตทรัพยากรทดแทน และไม่ควรทิ้งมันมากกว่าที่ธรรมชาติจะสามารถดูดซับกลับเข้าไปในระบบได้

Friday, 28 October 2022